เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิภาค ธรรมศึกษาชั้นโท ประดับประถมศึกษา

<h1>เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิภาค ธรรมศึกษาชั้นโท ประดับประถมศึกษา</h1>


เก็งข้อสอบวิชาธรรมวิภาค ธรรมศึกษาชั้นโท ประดับประถมศึกษา
{getButton} $text={บูชา ๒} $color={#009933}
๑. การบูชาที่พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ คือข้อใด ?
ก. สักการบูชา
ข. พุทธบูชา
ค. อามิสบูชา
ง. ปฏิบัติบูชา
๒. การรักษาศีล จัดเป็นการบูชาประเภทใด ?
ก. ปฏิบัติบูชา
ข. อมิสบูชา
ค. ธรรมบูชา
ง. สังฆบูชา
๓. ในบูชา ๒ การบูชาชนิดใดส่งเสริมอาชีพทำสวนดอกไม้ ?
ก. อามิสบูชา
ข. ปฏิบัติบูชา
ค. สักการบูชา
ง. ธรรมบูชา
๔. การบูชา มีกี่อย่าง ?
ก. ๑ อย่าง
ข. ๒ อย่าง
ค. ๓ อย่าง
ง. ๔ อย่าง
๕. การบูชาด้วยสิ่งของ เรียกว่าอะไร ?
ก. พุทธบูชา
ข. ธรรมบูชา
ค. สังฆบูชา
ง. อามิสบูชา


{getButton} $text={ปฏิสันถาร ๒} $color={#009933}
๑. ปฏิสันถาร ตรงกับข้อใด ?
ก. การต้อนรับ
ข. การบูชา
ค. การทำความเคารพ
ง. การทำความดี
๒. ข้อใด จัดเป็นธัมมปฏิสันถาร ?
ก. สนทนาธรรม
ข. ต้อนรับตามฐานะ
ค. ให้น้ำดื่ม
ง. ถามถึงธุระ
๓. ข้อใด จัดเป็นอามิสปฏิสันถาร ?
ก. ให้หนังสือธรรม
ข. ต้อนรับตามฐานะ
ค. ให้น้ำดื่ม
ง. ถามถึงธุระ
๔. การต้อนรับ เรียกว่าอะไร ?
ก. บูชา
ข. ปฏิสันถาร
ค. คารวะ
ง. ปฏิการะ


{getButton} $text={อกุศลวิตก ๓} $color={#009933}
๑. ผู้ถูกกามวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก. หมกมุ่นในกาม
ข. ปองร้าย
ค. คดโกง
ง. ทรมานสัตว์
๒. ความคิดในเรื่องใด ไม่จัดเป็นอกุศลวิตก ?
ก. กาม
ข. ปองร้าย
ค. เบียดเบียน
ง. การศึกษา
๓. คนที่คิดจะทำร้ายคนอื่น เพราะถูกวิตกใดครอบงำ ?
ก. อกุศลวิตก
ข. กามวิตก
ค. พยาบาทวิตก
ง. วิหิงสาวิตก


{getButton} $text={กุศลวิตก ๓} $color={#009933}
๑. ความดำริที่จะไม่เบียดเบียนกัน เป็นกุศลวิตกข้อใด ?
ก. เนกขัมมวิตก
ข. อพยาบาทวิตก
ค. อวิหิงสาวิตก
ง. กามวิตก
๒. ความดำริที่จะไม่ปองร้ายกัน เป็นกุศลวิตกข้อใด ?
ก. เนกขัมมวิตก
ข. อพยาบาทวิตก
ค. อวิหิงสาวิตก
ง. กามวิตก


{getButton} $text={สิกขา ๓} $color={#009933}
๑. ฌานสมาบัติ จัดเข้าในสิกขาใด ?
ก. ไตรสิกขา
ข. อธิสีลสิกขา
ค. อธิจิตตสิกขา
ง. อธิปัญญาสิกขา
๒. อานิสงส์ของการปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา คือข้อใด ?
ก. กำจัดทุกข์
ข. กำจัดโศก
ค. กำจัดโรค
ง. กำจักกิเลส


{getButton} $text={ปิฎก ๓} $color={#009933}
๑. ปิฏก แปลว่าอะไร ?
ก. ตะกร้า
ข. ถาด
ค. กระเป๋า
ง. ถุง
๒. นิทานชาดกต่างๆ ในพระไตรปิฏก อยู่ในปิฏกใด ?
ก. วินัยปิฏก
ข. สุตตันตปิฏก
ค. อภิธรรมปิฎก
ง. ถูกทุกข้อ
๓. พระอภิธรรมปิฏก ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. ข้อปฏิบัติ
ข. ชาดก
ค. ภูมิศาสตร์
ง. ธรรมชั้นสูง


{getButton} $text={พุทธจริยา ๓} $color={#009933}
๑. พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญโลกัตถจริยาใด ตลอด ๔๕ พรรษา ?
ก. บิณฑบาต
ข. แสดงธรรม
ค. ประทานโอวาท
ง. ถูกทุกข้อ
๒. พระพุทธเจ้าทรงห้ามพระญาติที่วิวาทกันเพราะแย่งน้ำจัดเข้าในจริยาใด ?
ก. พุทธัตถจริยา
ข. ญาตัตถจริยา
ค. โลกัตถจริยา
ง. อัตถจริยา
๓. ข้อใด จัดเป็นพุทธัตถจริยา ?
ก. บัญญัติสิกขาบท
ข. โปรดพระบิดา
ค. สงเคราะห์ญาติ
ง. บิณฑบาต


{getButton} $text={สามัญญลักษณะ ๓} $color={#009933}
๑. ลักษณะที่มีเสมอกันในคนทั่วไป เรียกว่าอะไร ?
ก. อนิจจตา
ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา
ง. สามัญญลักษณะ
๒. ความไม่เที่ยง มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. อนิจจตา
ข. ทุกขตา
ค. อนัตตตา
ง. ถูกทุกข้อ


{getButton} $text={พระอริยบุคคล ๔} $color={#009933}
๑. พระอริยบุคคลระดับที่ ๑ เรียกว่าอะไร ?
ก. พระอรหันต์
ข. พระอนาคามี
ค. พระสกทาคามี
ง. พระโสดาบัน
๒. พระอริยบุคคลผู้กลับมาเกิดอีกชาติเดียว หมายถึงข้อใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์
๓. พระผู้ไกลจากกิเลสโดยสิ้นเชิง หมายถึงข้อใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระสกทาคามี
ค. พระอนาคามี
ง. พระอรหันต์


{getButton} $text={สัมปรายิตถประโยชน์ ๔} $color={#009933}
๑. ข้อใด ไม่ใช่สัมปรายิกัตถประโยชน์ ?
ก. มีศรัทธา
ข. มีทรัพย์
ค. มีศีล
ง. มีปัญญา
๒. ศรัทธาต้องใช้คู่กับธรรมใด จึงจะไม่งมงาย ?
ก. ศีล
ข. จาคะ
ค. ปัญญา
ง. สติ


{getButton} $text={อนุปุพพีกถา ๕} $color={#009933}
๑. เทศนาที่แสดงไปโดยลำดับ เรียกว่าอะไร ?
ก. อนุปุพพีกถา
ข. ทานกถา
ค. สีลกถา
ง. สัคคกถา
๒. คนมีจิตใจตระหนี่ ควรฟังอนุปุพพีกถาข้อใด ?
ก. ทานกถา
ข. สีลกถา
ค. สัคคกถา
ง. กามาทีนวกถา
๓. คนประเภทไหน ควรฟังกามาทีนวกถา ?
ก. คนโลภ
ข. คนโกรธ
ค. คนลุ่มหลง
ง. คนมักมากในกาม


{getButton} $text={มาร ๕} $color={#009933}
๑. ข้อใด ไม่ใช่มาร ๕
ก. ปัญจขันธ์
ข. กิเลส
ค. มรณะ
ง. ศัตรู
๒. ความเจ็บป่วย จัดเป็นมารชนิดใด ?
ก. ขันธมาร
ข. กิเลสมาร
ค. อภิสังขารมาร
ง. มัจจุมาร
๓. มารที่ครอบงำบุคคลให้ประกอบทุจริตคิดมิชอบ ตรงกับข้อใด ?
ก. ขันธมาร
ข. กิเลสมาร
ค. มัจจุมาร
ง. เทวปุตตมาร


{getButton} $text={ขันธ์ ๕} $color={#009933}
๑. ดิน น้ำ ไฟ ลม ประชุมกันเป็นกาย เรียกว่าอะไร ?
ก. รูป
ข. เวทนา
ค. สังขาร
ง. วิญญาณ
๒. วิญญาณในขันธ์ ๕ หมายถึงข้อใด ?
ก. ภูตผี
ข. ปีศาจ
ค. ความรู้อารมณ์
ง. ความจำ
๓. ขันธ์ ๕ ย่อลงเป็น ๒ อย่าง ตรงกับข้อใด ?
ก. นามกับรูป
ข. นามกับสัญญา
ค. นามกับสังขาร
ง. นามกับวิญญาณ


{getButton} $text={ธรรมคุณ ๖} $color={#009933}
๑. พระธรรมคุณข้อว่า สนฺทิฏฺฐิโก หมายถึงข้อใด ?
ก. ผู้บรรลุพึงเห็นเอง
ข. รู้เฉพาะตน
ค. เรียกให้มาดู
ง. น้อมเข้ามาในตน
๒. พระธรรมคุณ ๖ คำว่าไม่ประกอบด้วยกาล ตรงกับข้อใด ?
ก. สนฺทิฏฺฐิโก
ข. อกาลิโก
ค. เอหิปสฺสิโก
ง. โอปนยิโก
๓. เอหิปสฺสิโก มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. พิสูจน์ได้
ข. ยอมรับ
ค. ทันสมัย
ง. ตรัสไว้ดีแล้ว
๔. คำว่า น้อมนำมาปฏิบัติ ตรงกับคุณข้อใด ?
ก. สนฺทิฏฺฐิโก
ข. อกาลิโก
ค. เอหิปสฺสิโก
ง. โอปนยิโก
๕. ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ผู้บรรลุพึงเห็นเอง
ข. รู้เฉพาะตน
ค. เรียกให้มาดู
ง. น้อมเข้ามาในตน
๖. คุณของพระธรรม จำแนกไว้กี่ประการ ?
ก. ๔ ประการ
ข. ๖ ประการ
ค. ๘ ประการ
ง. ๙ ประการ


{getButton} $text={พุทธคุณ ๖} $color={#009933}
๑. พุทธคุณบทว่า อรหํ แปลว่าอะไร ?
ก. ผู้รู้
ข. ผู้ไกลจากกิเลส
ค. ผู้ตื่น
ง. ผู้เบิกบาน
๒. พุทธคุณบทว่า โลกวิทู แปลว่าอะไร ?
ก. ผู้มีโชค
ข. ผู้เสด็จไปดี
ค. ผู้ตื่น
ง. ผู้รู้แจ้งโลก
๓. พุทธคุณว่า เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง หมายถึงตรัสรู้อะไร ?
ก. อริยสัจ ๔
ข. อิทธิบาท ๔
ค. อภิญญา ๖
ง. วิชชา ๘
๔. ความรู้คู่คุณธรรม มีความหมายตรงกับพุทธคุณข้อใด ?
ก. อรหํ
ข. สุคโต
ค. โลกวิทู
ง. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน


{getButton} $text={บุญกิริยาวัตถุ ๑๐} $color={#009933}
๑. บุญกิริยาวัตถุ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. วิธีทำบุญ
ข. วิธีละกิเลส
ค. วิธีล้างบาป
ง. วิธีแผ่เมตตา
๒. การประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ ตรงกับบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก. ทานมัย
ข. สีลมัย
ค. ภาวนามัย
ง. อปจายนมัย
๓. การทำงานจิตอาสา จัดเข้าในบุญกิริยาวัตถุใด ?
ก. อปจายนมัย
ข. เวยยาวัจมัย
ค. ปัตติทานมัย
ง. ธัมมัสสวนมัย
๔. ปัตติทานมัย มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ให้ส่วนบุญ
ข. อนุโมทนาบุญ
ค. บริจาคสิ่งของ
ง. ให้อภัย
๕. ปัตตานุโมทนามัย มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ให้ส่วนบุญ
ข. อนุโมทนาบุญ
ค. แสดงธรรม
ง. ฟังธรรม
๖. เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นบุญกิริยาวัตถุข้อใด ?
ก. สีลมัย
ข. ภาวนามัย
ค. เวยยาวัจจมัย
ง. ทิฏฐุชุกัมม์

แสดงความคิดเห็น

ใหม่กว่า เก่ากว่า