สุภาษิตที่ ๕ ธรรมศึกษาชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา

<h1>ภิกษุผู้เห็นโทษในกาม มีความประพฤติประเสริฐ ปราศจากตัณหา มีสติทุกเมื่อ พิจารณาแล้ว ดับกิเลสแล้ว ย่อมไม่มีความหวั่นไหว</h1>

{getButton} $text={ที่มาสุภาษิต}$color={#009933}
ตัวย่อ: (ขุ.สุ. ๒๕/๕๓๑)
ตัวย่อ: (ขุ.จู. ๓๐/๓๔)
ตัวเต็ม: ขุททกนิกาย สุตตนิบาต
ตัวเต็ม: ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส


{getButton} $text={ประเด็นของสุภาษิต} $color={#009933}
- กาม คืออะไร
- มีโทษอย่างไร
- ความประพฤติประเสริฐเป็นเช่นไร
- ไม่มีความหวั่นไหวคืออะไร


{getButton} $text={หลักธรรมประกอบ} $color={#009933}
- กามคุณ ๕
- เรื่องอื่นๆ (ที่เกี่ยวข้อง)


{getButton} $text={แนวนำมาเขียนอธิบาย} $color={#009933}
กาม คืออะไร
คือ ความใคร่ ได้แก่ กิเลสกาม และวัตถุกาม

โทษของกาม คืออะไร
คือ ทำให้สัตว์ตกอยู่ในความทุกข์ ติดอยู่ในภพชาติ ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสารอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ความประพฤติประเสริฐ
คือ การประพฤติพรหมจรรย์ ด้วยการรักษาศีล เจริญสมาธิภาวนา ไม่ยินดียินร้าย หรือติดใจในกามคุณทั้งหลาย เป็นผู้ปราศจากตัณหาคือความยาก มีสติพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลายโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา แล้วดับกิลสทั้งหลาย อันมีราคะความกำหนัด เป็นต้น

ไม่มีความหวั่นไหว
คือ ไม่ต้องดิ้นรนด้วยกิเลสตัณหา และมิจฉาทิฏฐิ เพราะเป็นผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว คือ พระนิพพาน



{getButton} $text={ตัวอย่างการแต่งกระทู้ธรรม} $color={#ff0066}
<h3>ตัวอย่างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก ๕ ระดับมัธยมศึกษา</h3>

{getButton} $text={เชื่อมด้วยสุภาษิต} $color={#3daf2c}
<h3>สุภาษิตเชื่อมที่ ๑ ธ.ศ.ชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา</h3>
<h3>สุภาษิตเชื่อมที่ ๒ ธ.ศ.ชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา</h3>
<h3>สุภาษิตเชื่อมที่ ๓ ธ.ศ.ชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา</h3>

สำหรับ "การเขียนแต่งเรียงความแก้กระทู้ธรรม" ของนักเรียนแต่ละคนจะไม่เหมือนกันนะครับ ขึ้นอยู่กับทักษะในการเขียนถ่ายทอดความรู้ได้มากน้อยกว่ากัน นักเรียนที่ขยันหาความรู้และหมั่นฝึกฝนฝึกเขียน ย่อมจะมีทักษะในการเขียนกระทู้ได้ดีกว่าผู้ที่ไม่มีความรู้หรือขาดทักษะในการเขียน ดังนั้น ในตัวอย่างการเขียนแต่งกระทู้ธรรมที่แนะนำไว้นี้ เป็นตัวอย่างไว้ให้ได้ศึกษา นักเรียนจะได้รู้แนวทางในการเขียน และเข้าใจบทสุภาษิตที่จะต้องเขียนแต่งกระทู้มากขึ้น และนำไปหัดฝึกเขียนกระทู้ธรรมของนักเรียนต่อไป {alertInfo}

แสดงความคิดเห็น

ใหม่กว่า เก่ากว่า
ADVERTISMENT