๑. | วิชากรรมบถ เน้นหลักคำสอนว่าด้วยเรื่องอะไร ? ก. กรรม ข. ขอพรพระเจ้า ค. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ง. สิ่งลี้ลับ |
๒. | ข้อใด เป็นคำแปลของกรรบถ ? ก. ทางทำกรรม ข. ผลของกรรม ค. การทำกรรม ง. การชดใช้กรรม |
๓. | ข้อใด เป็นความหมายของกุศลกรรมบถ ? ก. ทางแห่งความดี ข. ทางแห่งกรรม ค. ทางแห่งอบาย ง. ทางก้าวหน้า |
๔. | กรรมบถ กล่าวถึงการกระทำทางใด ? ก. กาย ข. วาจา ค. ใจ ง. ถูกทุกข้อ |
๕. | คนจะดีหรือเลว พิจารณาจากอะไร ? ก. การกระทำ ข. คำพูด ค. ความคิด ง. ถูกทุกข้อ |
๖. | การได้ไปเกิดในสวรรคหรือมนุษย์โลก เรียกว่าอะไร ? ก. สุคติ ข. ทุคติ ค. ภพ ง. ภูมิ |
๗. | ข้อใดส่งผลให้ไปเกิดในสุคติภมิ ? ก. อกุศลกรรมบถ ข. กุศลกรรมบถ ค. อกุศลเจตนา ง. อกุศลมูล |
๘. | การทำความดีความชั่วของสัตว์ เกิดขึ้นได้ทางใด ? ก. การกระทำ ข. คำพูด ค. ความคิด ง. ถูกทุกข้อ |
๙. | การกระทำของสัตว์จะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่วได้ ต้องประกอบด้วยอะไร ? ก. อารมณ์ ข. ความรู้สึก ค. เหตุจูงใจ ง. เจตนา |
๑๐. | สิ่งใด สำคัญที่สุดในการกระทำความดีความชั่ว ? ก. เจตนา ข. อารมณ์ ค. อวิชชา ง. สังขาร |
๑๑. | การทำความดีความชั่วของสัตว์ จำแนกของเป็นกี่ประเภท ? ก. ๒ ประเภท ข. ๓ ประเภท ค. ๔ ประเภท ง. ๕ ประเภท |
๑๒. | ข้อใด เป็นมูลเหตุให้บุคคลประเพฤติอกุศลกรรมบถ ? ก. ความโลภ ข. ความโกรธ ค. ความหลง ง. ถูกทุกข้อ |
๑๓. | การประพฤติผิดในกาม เป็นอกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๔. | การละเมิดทางเพศ เป็นอกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๕. | การพูดโกหก เป็นอกุศลกรรมใดประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๖. | การพูดเพ้อเจ้อ เป็นอกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๗. | โลภอยากได้ของเขา เป็นอกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๘. | การกระทำความชั่วมีอะไรเป็นมูลเหตุ ? ก. กุศลมูล ข. อกุศลมูล ค. กุศลจิต ง. อกุศลจิต |
๑๙. | เมื่อโลภะเกิดขึ้น หากระงับไม่ได้ จะทำให้คนเราทำความผิดใด ? ก. ทำร้ายกัน ข. ลักขโมยกัน ค. นอกใจกัน ง. เชื่อเรื่องงมงาย |
๒๐. | เมื่อโทสะเกิดขึ้น หากระงับไม่ได้ จะทำให้คนเราทำความผิดใด ? ก. ทำร้ายกัน ข. ลักขโมยกัน ค. นอกใจกัน ง เชื่อเรื่องงมงาย |
๑. | การทำร้ายร่างกาย เป็นปาณาติบาตเกิดขึ้นทางใด ? ก. ทางกาย ข. ทางวาจา ค. ทางกายกับวาจา ง. ถูกทุกข้อ |
๒. | สิ่งให้คนอื่นฆ่า จัดเป็นปาณาติบาตเกิดขึ้นทางใด ? ก. ทางกาย ข. ทางวาจา ค. ทางกายกับวาจา ง. ถูกทุกข้อ |
๓. | ความคิดใด เป็นองค์ประกอบในการทำความผิดปาณาติบาต ? ก. คิดจะฆ่า ข. คิดจะลัก ค. คิดจะพูดให้คลาดเคลื่อน ง. คิดจะเสพ |
๔. | ข้อใด ไม่ใช่ปาณาติบาตเกิดทางกาย ? ก. ใช้มีดฆ่า ข. ใช้ปืนยิ่ง ค. ใช้เครื่องทรมาน ง. สั่งให้คนอื่นฆ่า |
๕. | โทษเบาที่สุดในการทำปาณาติบาต คือข้อใด ? ก. ครอบครัวแตกแยก ข. ขัดสนเงินทอง ค. วิกลจริต ง. อายุสั้น |
๖. | ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการทำปาณาติบาต ? ก. อายุสั้น ข. ทรัพย์สูญหาย ค. ครอบครัวแตกแยก ง. ขาดความเชื่อถือ |
๗. | ข้อใด เป็นอกุศลกรรมบถข้ออทินนาทาน ? ก. ทุจริตเงินคนจน ข. ทุจริตเงินทอน ค. ทุจริตอาหารเด็ก ง. ถูกทุกข้อ |
๘. | การทุจริตเงินอาหารกลางวันเด็กนักเรียน เป็นอกุศลกรรมบถใด ? ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. มุสาวาท ง. พยาบาท |
๙. | ความละโมบโลภมาก ส่งผลให้คนเราทำอกุศลกรรมบถใด ? ก. อทินนาทาน ข. กาเมสุมิจฉาจาร ค. ผรุสวาจา ง. มุสาวาท |
๑๐. | ข้อใด เป็นอทินนาทานเกิดทางวาจา ? ก. สั่งให้ลักทรัพย์ ข. วิ่งราวทรัพย์ ค. ปล้นทรัพย์ ง. ทำร้ายทรัพย์ |
๑๑. | ผู้ปรารถนาเป็นเศรษฐีมหาเศรษฐี ควรงดเว้นอกุศลกรรมบถใด ? ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. พยาบาท |
๑๒. | ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการทำอทินนาทาน ? ก. เจ็บป่วยเรื้อรัง ข. ยากจนขันสน ค. ศัตรูมาก ง. ปัญญาทึบ |
๑๓. | อกุศลกรรมบถข้อที่ ๓ เกิดจากการทำความผิดใด ? ก. ผิดวินัย ข. ผิดระเบียบ ค. ผิดกติกา ง. ผิดประเวณี |
๑๔. | พฤติกรรมใด เรียกว่า กาเมสุมิจฉาจาร ? ก. คบชู้ ข. คบเพื่อน ค. คบค้า ง. คบคิด |
๑๕. | การกระทำใด เรียกว่า กาเมสุมิจฉาจาร ? ก. คบชู้ ข. คบเพื่อน ค. คบคนพาล ง. คบบัณฑิต |
๑๖. | ข้อใด เป็นหญิงต้องห้ามในการทำกาเมสุมิจฉาจาร ? ก. หญิงมีสามี ข. หญิงมีญาติรักษา ค. หญิงมีธรรมรักษา ง. ถูกทุกข้อ |
๑๗. | กาเมสุมิจฉาจาร จะสำเร็จเป็นกรรมบถได้ ต้องเกิดจากการกระทำทางใด ? ก. กาย ข. วาจา ค. ใจ ง. ถูกทุกข้อ |
๑๘. | สำนวนใด มีความหมายสอดคล้องกับกาเมสุจฉาจาร ? ก. น้ำมาปลากินมด ข. น้ำนิ่งไหลลึก ค. จับปลาสองมือ ง. น้ำขึ้นให้รีบตัก |
๑๙. | โรคชนิดใด มีกาเมสุมิจฉาจารเป็นต้นเหตุ ? ก. เอดส์ ข. มะเร็งปอด ค. ไวรัสตับ ง. กล้ามเนื้ออ่อนแรง |
๒๐. | พูดให้ผิดจากความเป็นจริง เป็นอกุศลกรรมบถทางวาจาประเภทใด ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๒๑. | อกุศลกรรมบถข้อมุสาวาท เกิดขึ้นได้ทางใด ? ก. กาย วาจา ข. กาย ใจ ค. วาจา ใจ ง. กาย วาจา ใจ |
๒๒. | พูดอย่างไร เรียกว่า พูดส่อเสียด ? ก. พูดโกหก ข. พูดยุแยงให้แตกกัน ค. พูดคำหยาบ ง. พูดเล่น |
๒๓. | พูดยุยงให้ผู้อื่นเกิดความแตกแยก เป็นอกุศลกรรมบถทางวาจาประเภทใด ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๒๔. | พูดเอาดีใส่ตัว เอาชั่วใส่คนอื่น เพราะไม่งดเว้นอกุศลกรรมบถใด ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๒๕. | คำพูดใด ผู้พูดมีเจตนามุ่งทำร้ายจิตใจผู้ฟัง ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๒๖. | เจตนาเป็นเหตุให้พูดคำหยาบ เรียกว่าอะไร ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๒๗. | ข้อใด ถือว่าพูดมีเจตนามุ่งทำลายจิตใจผู้ฟัง ? ก. พูดเท็จ ข. พูดคำหยาบ ค. พูดส่อเสียด ง. พูดคำหยาบ |
๒๘. | คำพูดเช่นไร เรียกว่า ผรุสวาจา ? ก. ไพเราะเสนาะหู ข. ส่อเสียด ค. โกหก ง. หยาบคาย |
๒๙. | คำดุด่าเช่นไร ไม่ถือเป็นผรุสวาจา ? ก. ด่าเพราะสั่งสอน ข. ด่าเพราะเกลียด ค. ด่าเพราะโกรธ ง. ด่าเพราะชัง |
๓๐. | พูดอย่างไร เรียกว่า สัมผัปปลาปะ ? ก. พูดโกหก ข. พูดคำหยาบ ค. พูดส่อเสียด ง. พูดไร้สาระ |
๓๑. | การกล่าวถ้อยคำอันไร้ประโยชน์สำหรับผู้ฟัง เรียกว่าอะไร ? ก. มุสาวาท ข. ปิสุณวาจา ค. ผรุสวาจา ง. สัมผัปปลาปะ |
๓๒. | ข้อใด เป็นผลกรรมเกิดจากการกล่าวมุสาวาท ? ก. มีอายุสั้น ข. ทรัพย์วิบัติ ค. มีศัตรูรอบด้าน ง. ถูกกล่าวตูใส่ร้าย |
๓๓. | ข้อใด จัดเป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางใจ ? ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา ค. อพยาบาท ง. สัมมาทิฏฐิ |
๓๔. | ข้อใด จัดเป็นอกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางใจ ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ |
๓๕. | มีจิตคิดละโมบอยากได้ของผู้อื่น เรียกว่าอะไร ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ |
๓๖. | การเพ่งเล็งอยากได้ของผู้อื่น จัดเป็นอกุศลกรรมบถใด ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ |
๓๗. | เมื่ออภิชฌาเกิดขึ้นในใจ เป็นเหตุให้กระทำอกุศลกรรมบถใด ? ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. พยาบาท |
๓๘. | คิดจะทำลายประโยชน์สุขผู้อื่นให้พินาศไป เรียกว่าอะไร ? ก. อภชฌา ข. พยาบาท ค. โมหะ ง. โลภะ |
๓๙. | คิดปองร้ายผู้อื่น เรียกว่าอะไร ? ก. พยาบาท ข. อภชฌา ค. กายกรรม ง. มโนกรรม |
๔๐. | ความคิดปองร้ายผู้อื่น โดยตรงเกิดจากอกุศลมูลใด ? ก. โลภะ ข. โทสะ ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ |
๔๑. | ความพยาบาทเกิดขึ้นเพราะกิเลสใด ? ก. โลภะ ข. โทสะ ค. โมหะ ง. ถูกทุกข้อ |
๔๒. | ข้อใด เพียงแค่คิดก็เป็นความชั่วแล้ว ? ก. อทินนาทาน ข. มุสาวาท ค. ผรุสวาจา ง. พยาบาท |
๔๓. | ข้อใด เป็นความชั่วเกิดจากความคิด ? ก. อทินนาทาน ข. มุสาวาท ค. ผรุสวาจา ง. พยาบาท |
๔๔. | ความเห็นใด ปฏิเสธกรรมและผลของกรรม ? ก. อภชฌา ข. อนภิชฌา ค. สัมมาทิฏฐิ ง. มิจฉาทิฏฐิ |
๔๕. | การเห็นผิดจากคลองธรรม เรียกว่าอะไร ? ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา ค. สัมมาทิฏฐิ ง. มิจฉาทิฏฐิ |
๔๖. | ความเห็นใด ไม่ใช่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ? ก. โลกหน้าไม่มี ข. บาปบุญไม่มี ค. ตายแล้วสูญ ง. ผลทานมีจริง |
๔๗. | คนมิจฉาทิฏฐิ มีลักษณะเช่นไร ? ก. ชอบด่า ข. อยากได้ ค. มักโกรธ ง. เห็นผิดเป็นชอบ |
๔๘. | ความเห็นว่าบาปบุญไม่มีจริง เรียกว่าอะไร ? ก. อุจเฉททิฏฐิ ข. อกิริยทิฏฐิ ค. นัตถิกทิฏฐิ ง. สัสสตทิฏฐิ |
๔๙. | เห็นว่าทำความชั่วไม่บาป เป็นมิจฉาทิฏฐิประเภทใด ? ก. อุจเฉททิฏฐิ ข. อกิริยทิฏฐิ ค. นัตถิกทิฏฐิ ง. สัสสตทิฏฐิ |
๕๐. | ความเห็นว่ามีอัตตาและโลกเที่ยงแท้ยั่งยืน เรียกว่าอะไร ? ก. อุจเฉททิฏฐิ ข. อกิริยทิฏฐิ ค. นัตถิกทิฏฐิ ง. สัสสตทิฏฐิ |
๑. | กายกรรม ๓ จะสเร็จความเป็นกรรมบถได้เพราะอะไร ? ก. เจตนา ข. อารมณ์ ค. เวทนา ง. มูลเหตุ |
๒. | เจตนางดเว้นจากการทำความชั่ว ตรงกับคำใด ? ก. เวรมณี ข. ศีล ค. สิกขาบท ง. วิรัติ |
๓. | กุศลกรรมบถ ๑ๆ ประการ จัดเข้าในไตรสิกขาใด ? ก. ศีล ข. สมาธิ ค. ปัญญา ง. ถูกทุกข้อ |
๔. | กูศลกรรมบถใด เป็นการทำความดีทางกาย ? ก. เว้นมุสาวาท ข. เว้นปิสุณวาจา ค. เว้นอทินนาทาน ง. เว้นสัมผัปปลาปะ |
๕. | ข้อใด เป็นการทำความดีทางวาจา ? ก. เว้นมุสาวาท ข. เว้นปิสุณวาจา ค. เว้นสัมผัปปลาปะ ง. ถูกทุกข้อ |
๖. | กุศลกรรมบถใด เป็นการทำความดีทางใจ ? ก. เว้นปาณาติบาต ข. เว้นมุสาวาท ค. เว้นผรุสวาจา ง. เว้นพยาบาท |
๗. | เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร เป็นกุศลกรรมบถใด ? ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา ค. พยาบาท ง. อพยาบาท |
๘. | ข้อใด เป็นกรรมบถเกิดขึ้นทางใจอย่างเดียว ? ก. ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน ค. กาเมสุมิจฉาจาร ง. อพยาบาท |
๙. | ข้อใด ไม่ใช่ธรรมจริยสมจริยาทางกาย ? ก. เว้นฆ่าสัตว์ ข. เว้นลักทรัพย์ ค. เว้นทำผิดในกาม ง. เว้นพูดเท็จ |
๑๐. | ความคิดไม่ผูกอาฆาตพยาบาทจองเวร เกิดขึ้นจากกุศลมูลใด ? ก. อโลภะ ข. อโทสะ ค. อโมหะ ง. ถูกทุกข้อ |
๑๑. | การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็นกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๒. | เว้นจากการพยาบาท เป็นกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๓. | ข้อใด เป็นกุศลกรรมบถเกิดขึ้นทางใจ ? ก. สัมมาทิฏฐิ ข. อภิชฌา ค. พยาบาท ง. มิจฉาทิฏฐิ |
๑๔. | เมื่ออภิชฌาเกิดขึ้นบ่อยๆ เป็นเหตุให้กระทำกุศลกรรมบถใด ? ก. เว้นฆ่าสัตว์ ข. เว้นลักทรัพย์ ค. เว้นทำผิดในกาม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๕. | อนภิชฌา อพยาบาท สัมมาทิฏฐิ เป็นกุศลกรรมบถประเภทใด ? ก. กายกรรม ข. วจีกรรม ค. มโนกรรม ง. ถูกทุกข้อ |
๑๖. | การไม่เพ่งเล็งอยากได้ของผู้อื่น เรียกว่าอะไร ? ก. อภิชฌา ข. อนภิชฌา ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. สัมมาทิฏฐิ |
๑๗. | อนภิชฌา มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. ไม่โลภอยากได้ ข. ไม่พูดมาก ค. ไม่คิดมาก ง. ไม่โกรธมาก |
๑๘. | อนภิชฌา ตรงข้ามกับอกุศลกรรมบถใด ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ |
๑๙. | การงดเว้นกาเมสุมิจฉาจาร ช่วยแก้ปัญหาเรื่องใด ? ก. ทำร้ายกัน ข. ลักขโมย ค. คนประพฤตินอกใจคู่ครอง ง. ให้ร้ายกัน |
๒๐. | ข้อใด เป็นธรรมจริยสมจริยาทางวาจา ? ก. เว้นฆ่าสัตว์ ข. เว้นลักทรัพย์ ค. เว้นพูดส่อเสียด ง. ไม่คิดร้ายผู้อื่น |
๒๑. | คำพูดยุยงปลุกปั่นให้แตกสามัคคี แก้ได้ด้วยกุศลกรรมบถใด ? ก. เว้นมุสาวาท ข. เว้นปิสุณวาจา ค. เว้นผรุสวาจา ง. เว้นสัมผัปปลาปะ |
๒๒. | บุคคลประพฤติเช่นไร ได้ชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ ? ก. ไม่โลภอยากได้ ข. ไม่คิดร้ายคนอื่น ค. ไม่พูดส่อเสียด ง. ไม่เนรคุณพ่อแม่ |
๒๓. | ข้อใด เป็นกุศลกรรมบถเกิดขึ้นเฉพาะทางกายอย่างเดียว ? ก. เว้นปาณาติบาต ข. เว้นอทินนาทาน ค. เว้นกาเมสุมิจฉาจาร ง. เว้นมุสาวาท |
๒๔. | สัมมาทิฏฐิ ตรงข้ามกับอกุศลกรรมบถใด ? ก. อภิชฌา ข. พยาบาท ค. มิจฉาทิฏฐิ ง. ถูกทุกข้อ |
๒๕. | ความเห็นที่เป็นสัมมาทิฏฐิ เกิดขึ้นจากกุศลมูลใด ? ก. อโลภะ ข. อโทสะ ค. อโมหะ ง. ถูกทุกข้อ |
๒๖. | การไม่เบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน ตรงกับอุปนิสัยใด ? ก. ทานูปนิสัย ข. สีลูปนิสัย ค. ภาวนูปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ |
๒๗. | ความเห็นใด เป็นสัมมาทิฏฐิ ? ก. บาปบุญมีจริง ข. บาปบุญไม่มีจริง ค. โลกหน้าไม่มี ง. ตายแล้วสูญ |
๒๘. | กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ จัดเข้าในอุปนิสัยข้อใด ? ก. ทานุปนิสัย ข. สีลุปนิสัย ค. ภาวนุปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ |
๒๙. | อุปนิสัยใด ทำความโลภให้เบาบางลง ? ก. ทานุปนิสัย ข. สีลุปนิสัย ค. ภาวนุปนิสัย ง. ถูกทุกข้อ |
๓๐. | ในกรรมบถ ๒ อย่างนั้น กุศลกรรมบถ เรียกว่าอะไร ? ก. ทุจริต ข. สุจริต ค. กุศลมูล ง. อกุศลมูล |
๓๑. | ข้อใด เป็นอานิสงส์แห่งการประพฤติกุศลกรรมบถ ? ก. เกิดเป็นมนุษย์ ข. เกิดเป็นเปรต ค. เกิดเป็นอสุรกาย ง. เกิดเป็นสัตว์ |
๓๒. | ข้อใด เป็นผลสูงสุดในการประพฤติกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ? ก. ทำดี ข. พูดดี ค. คิดดี ง. มีจิตหลุดพ้น |