เก็งข้อสอบวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับประถมศึกษา

<h1>เก็งข้อสอบวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับประถมศึกษา</h1>


เก็งข้อสอบวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับประถมศึกษา
{getButton} $text={บทที่ ๑ ว่าด้วยอุโบสถ} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นสำหรับใคร ?
ก. ภิกษุ
ข. ภิกษุณี
ค. คนทั่วไป
ง. อุบาสก อุบาสิกา
๒. กิริยาเช่นไร เรียกว่ารักษาอุโบสถศีล ?
ก. ถือศีลกินเจ
ข. ปิดวาจาไม่สนทนา
ค. งดเว้นข้อห้าม
ง. งดเหล้าเข้าพรรษา
๓. การถืออุโบสถนอกพุทธกาล เน้นวิธีรักษาในเรื่องใด ?
ก. อดอาหาร
ข. ถือสรณะ
ค. ถือศีล ๘
ง. รักษาตากาล
๔. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับอุโบสถนอกพุทธกาล ?
ก. งดอาหาร
ข. บำเพ็ญตบะ
ค. สรณคมน์
ง. ถือตามกาล
๕. อุโบสถในพระพุทธศาสนา บัญญัติไว้กี่สิกขาบท ?
ก. ๕ สิกขาบท
ข. ๘ สิกขาบท
ค. ๑๐ สิกขาบท
ง. ๑๒ สิกขาบท
๖. ข้อใด กล่าวถืออุโบสถศีลได้ถูกต้อง ?
ก. กินมังสวิรัติ
ข. ไม่กินเนื้อสัตว์ใหญ่
ค. งดอาหารเย็น
ง. ถูกทุกข้อ
๗. คำว่า อุโบสถ แปลว่าอะไร ?
ก. การเข้าจำ
ข. การจำพรรษา
ค. การปฏิบัติธรรม
ง. การอดอาหาร
๘. อุโบสถศีล คือศีลประเภทใด ?
ก. ศีล ๕
ข. ศีล ๘
ค. ศีล ๑๐
ง. ศีล ๒๒๗
๙. การรักษาอุโบสถ เป็นการทำความดีของใคร ?
ก. คฤหัสถ์ทั่วไป
ข. ภิกษุ
ค. สามเณร
ง. อุบาสกอุบาสิกา
๑๐. การเข้าจำอุโบสถ เริ่มปฏิบัติกันมาตั้งแต่เมื่อไร ?
ก. ก่อนพุทธกาล
ข. สมัยพุทธกาล
ค. กึ่งพุทธกาล
ง. หลังพุทธกาล


{getButton} $text={ประเภทของอุโบสถ} $color={#009933}
๑. อุโบสถประเภทใด คนนิยมสมาทานรักษาในวันพระ ?
ก. ปฏิชาครอุโบสถ
ข. ปกติอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง. ถูกทุกข้อ
๒. อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษาวันหนึ่งคืนหนึ่ง ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง. นิพัทธอุโบสถ
๓. อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษาคราวละ ๓ วัน ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. นิพัทธอุโบสถ
๔. นิพัทธอุโบสถ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ?
ก. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ข. โคปาลกอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. นิคคัณฐอุโบสถ
๕. อุโบสถประเภทใด กำหนดให้รักษานานถึง ๔ เดือน ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ค. ปกติอุโบสถ
ง. อริยอุโบสถ
๖. วันรับ วันรักษา และวันส่ง เป็นวันกำหนดให้รักษาอุโบสถใด ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปาฏิหาริยอุโบสถ
ง. อริยอุโบสถ


{getButton} $text={บทที่ ๒ ว่าด้วยอุโบสถศีล} $color={#009933}
๑. ข้อใด ได้ชื่อว่าเป็นเนื้อนาบุญอันประเสริฐ ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๒. คำว่า อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ กล่าวเพื่อระลึกถึงใคร ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. มารดาบิดา
๓. บุคคลประเภทใด อาจเลิกนับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะได้ ?
ก. พระโสดาบัน
ข. พระอนาคามี
ค. พระอรหันต์
ง. ปุถุชนทั่วไป
๔. คำว่า ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ กล่าวถึงพระรัตนตรัยใด ?
ก. พระพุทธเจ้า
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๕. คำว่า พุทธะ มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก. ผู้รู้แจ้งโลก
ข. ผู้อดทน
ค. ผู้สิ้นกิเลส
ง. ผู้ตรัสรู้
๖. คำว่า รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปสู่ที่ชั่ว เป็นคุณพระรัตนตรัยใด ?
ก. พระพุทธ
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ไม่มีข้อถูก
๗. คำว่า สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ กล่าวเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัยใด ?
ก. พระพุทธเจ้า
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๘. พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์รวมกันเรียกว่าอะไร ?
ก. พระไตรปิฎก
ข. ไตรภูมิ
ค. ไตรสิกขา
ง. พระรัตนตรัย


{getButton} $text={ว่าด้วยสรณคมน์} $color={#009933}
๑. ข้อใด ไม่ใช่สาเหตุของการขาดสรณคมน์ ?
ก. ความตาย
ข. ทำร้ายพระศาสดา
ข. ความเมา
ง. นับถือศาสนาอื่น
๒. คว่า สรณะ หมายถึงอะไร ?
ก. ไตรลักษณ์
ข. ไตรรัตน์
ค. ไตรสิกขา
ง. ไตรมาส
๓. ข้อใด ไม่มีโทษเพราะขาดสรณคมน์ ?
ก. ตาย
ข. ทำร้ายพระศาสดา
ค. นับถือศาสนาอื่น
ง. ถูกทุกข้อ
๔. การติเตียนพระรัตนตรัยทำให้ไตรสรณคมน์เป็นอย่างไร ?
ก. บกพร่อง
ข. เศร้าหมอง
ค. ด่างพร้อย
ง. ขาดลงทันที
๕. การขาดสรณคมน์ย่อมไม่เกิดขึ้นในบุคคลประเภทใด ?
ก. พระโสดาบัน
ข. อุบาสก
ค. อุบาสิกา
ง. บุคคลทั่วไป
๖. การถือสรณคมน์ หมายถึงข้อใด ?
ก. ถือเอาเป็นที่พึ่ง
ข. ยึดมั่นถือมั่น
ค. ถือเป็นอารมณ์
ง. ถือฤกษ์ยาม
๗. คำว่า พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ กล่าวถึงพระรัตนตรัยใด ?
ก. พระพุทธเจ้า
ข. พระธรรม
ค. พระสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๘. ในไตรสรณคมน์ พระธรรมหมายถึงข้อใด ?
ก. พระพุทธเจ้า
ข. คำสั่งสอน
ค. พระอริยสงฆ์
ง. ถูกทุกข้อ
๙. ข้อใด ทำให้ไตรสรณคมน์ขาด ?
ก. เกิด
ข. แก่
ค. เจ็บ
ง. ตาย


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๑} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. ลักทรัพย์
ค. เสพกาม
ง. ดื่มสุรา
๒. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๒
ค. ข้อที่ ๓
ง. ข้อที่ ๔
๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๑ ต้องการให้ผู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
ก. กตัญญู
ข. ไม่โกหก
ค. มีจิตเมตตา
ง. ซื่อสัตย์
๔. ข้อใด ทำให้การรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๑ ขาด ?
ก. สัตว์ตาย
ข. ลักของมาได้
ค. ยินดีในการเสพ
ง. คนอื่นเข้าใจคำพูด
๕. คำสั่งใด เป็นองค์ประกอบการล่วงละเมิดอุโบสถศีลข้อที่ ๑ ?
ก. สั่งให้พูดปด
ข. สั่งให้ลัก
ค. สั่งให้ปล้น
ง. สั่งให้ฆ่า
๖. ข้อใด เป็นโทษจากการล่วงละเมิดอุโบสถศีลข้อที่ ๑ ?
ก. อายุสั้น
ข. เสียทรัพย์
ค. เสียสติ
ง. ขาดความเชื่อถือ


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๒} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. กินอาหารค่ำ
ค. ร้องเพลง
ง. ลักทรัพย์
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๑
ข. ข้อที่ ๒
ค. ข้อที่ ๓
ง. ข้อที่ ๔
๓. คำสั่งใด เป็นการล่วงละเมิดศีลข้อที่ ๒ ?
ก. สั่งให้พูดปด
ข. สั่งลักขโมย
ค. สั่งให้ทำร้าย
ง. สั่งให้ฆ่า
๔. ข้อใด ทำให้การักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๒ ขาด ?
ก. สัตว์ตาย
ข. แต่งกายสวยงาม
ค. กลืนอาหารลงคอ
ง. ลักของมาได้
๕. ข้อใด เป็นโทษของการล่วงละเมิดอุโบสถศีลข้อที่ ๒ ?
ก. อายุสั้น
ข. สุขภาพไม่แข็งแรง
ค. เสื่อมทรัพย์
ง. เกิดโรคภัย
๖. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ สอนให้เห็นความสำคัญเรื่องใด ?
ก. ทรัพย์สิน
ข. ชีวิต
ค. ความอดทน
ง. ความซื่อสัตย์
๗. อุโบสถศีลข้อที่ ๒ ต้องการให้ผู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
ก. กตัญญู
ข. ไม่โกหก
ค. มีจิตเมตตา
ง. มีอาชีพสุจริต


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๓} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๓ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. เสพกาม
ข. เต้นรำ
ค. ร้องเพลง
ง. แต่งตัว
๒. อะพรหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๒
ข. ข้อที่ ๓
ค. ข้อที่ ๔
ง. ข้อที่ ๕
๓. ข้อใด ทำให้การรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๓ ขาด ?
ก. คนอื่นเข้าใจคำพูด
ข. สัตว์ตาย
ค. ยินดีในการเสพ
ง. ลักของมาได้
๔. อุโบสถศีลข้อที่ ๓ มุ่งให้คนละกิเลสใด ?
ก. มานะ
ข. ราคะ
ค. โทสะ
ง. ทิฏฐิ
๕. อสัทธรรมอันเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ คือข้อใด ?
ก. ร่วมประเวณี
ข. ความตาย
ค. ความแก่
ง. ความพลัดพราก
๖. คำว่าถือพรหมจรรย์ในอุโบสถศีลข้อที่ ๓ หมายถึงข้อใด ?
ก. ไม่ลักทรัพย์
ข. ไม่เสพกาม
ค. ไม่พูดโกหก
ง. ไม่ดื่มสุรา


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๔} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. อาหารเย็น
ค. กล่าวเท็จ
ง. ลักทรัพย์
๒. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๓
ข. ข้อที่ ๔
ค. ข้อที่ ๕
ง. ข้อที่ ๖
๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ สอนให้เห็นความสำคัญเรื่องใด ?
ก. ความซื่อสัตย์
ข. ความอดทน
ค. ชีวิต
ง. ทรัพย์สิน
๔. ข้อใด เป็นโทษจากการล่วงละเมิดอุโบสถศีลข้อที่ ๔ ?
ก. เสียโฉม
ข. เสียทรัพย์
ค. ขาดความเชื่อถือ
ง. ก่อศัตรู
๕. ผู้รักษาอูโบสถศีล ไม่ควรกล่าววาจาเช่นไร ?
ก. ติฉิน
ข. นินทา
ค. ว่าร้าย
ง. ถูกทุกข้อ
๖. อุโบสถศีลข้อที่ ๔ ให้สำรวมระวังเรื่องใด ?
ก. การพูด
ข. การกิน
ค.การนอน
ง. การแต่งตัว


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๕} $color={#009933}
๑. ข้อใด ผู้รักษาศีล ๕ และอุโบสถศีลงดเว้นเหมือนกัน ?
ก. งดแต่งตัว
ข. งดร้องเพลง
ค. งดเต้นรำ
ง. งดดื่มสุรา
๒. ข้อใด ทำให้อุโบสถศีลข้อที่ ๕ ขาด ?
ก. ดื่มสุรา
ข. ทำให้สัตว์ตาย
ค. เสพกาม
ง. ลักทรัพย์
๓. ผู้สมาทานรักษาอุโบสถศีล ต้องงดเครื่องดื่มประเภทใด ?
ก. น้ำชา
ข. กาแฟ
ค. สุรา
ง. น้ำอ้อย
๔. อุโบสถศีลข้อที่ ๕ ต้องการให้ผู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
ก. มีสติ
ข. มีความอดทน
ค. มีความขยัน
ง. มีสัจจะ
๕. เครื่องดื่มชนิดใด สามารถดื่มได้ในขณะรักษาอุโบสถศีล ?
ก. เบียร์
ข. เหล้า
ค. ไวน์
ง. น้ำอ้อย


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๖} $color={#009933}
๑. คำว่า วิกาล ในอุโบสถศีลข้อที่ ๖ หมายถึงเวลาใด ?
ก. เช้า
ข. สาย
ค. ก่อนเที่ยง
ง. หลังเที่ยงวันไปแล้ว
๒. วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๔
ข. ข้อที่ ๕
ค. ข้อที่ ๖
ง. ข้อที่ ๗
๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๖ บัญญัติขึ้นเพื่อให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. เสพกาม
ข. อาหารเย็น
ค. ร้องเพลง
ง. เต้นรำ
๔. ผู้รักษาอุโบสถศีล ควรบริโภคอาหารในช่วงเวลาใด ?
ก. เช้าถึงเที่ยง
ข. หลังเที่ยง
ค. บ่ายถึงเย็น
ง. กลางคืน


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๗} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ บัญญัติขึ้นเพื่อตัดกังวลในเรื่องใด ?
ก. การบริโภค
ข. การแต่งตัว
ค. การนั่งนอน
ง. การสนทนา
๒. ข้อใด เป็นโทษจากการล่วงละเมิดอุโบสถศีลข้อที่ ๗ ?
ก. ก่อศัตรู
ข. เสียทรัพย์
ค. อายุสั้น
ง. ทำให้ยินดีในกามคุณ
๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๗ ให้งดเว้นเรื่องใด ?
ก. ฆ่าสัตว์
ข. พูดเพ้อเจ้อ
ค. อาหาร
ง. เสริมสวย


{getButton} $text={อุโบสถศีลข้อที่ ๘} $color={#009933}
๑. อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี คืออุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๒
ข. ข้อที่ ๔
ค. ข้อที่ ๖
ง. ข้อที่ ๘
๒. ที่นอนสูงใหญ่ เป็นสิ่งต้องห้ามของอุโบสถศีลข้อใด ?
ก. ข้อที่ ๓
ข. ข้อที่ ๔
ค. ข้อที่ ๗
ง. ข้อที่ ๘
๓. อุโบสถศีลข้อที่ ๘ ต้องการให้ผู้รักษาตัดกังวลเรื่องใด ?
ก. การกิน
ข. การนั่งนอน
ค. การแต่งตัว
ง. การทำงาน
๔. ขณะรักษาอุโบสถศีล ควรปฏิบัติตนอย่างไร ?
ก. สวดมนต์
ข. ฟังเทศน์
ค. นั่งสมาธิ
ง. ถูกทุกข้อ


{getButton} $text={บทที่ ๓ ว่าด้วยอานิสงส์ของอุโบสถ} $color={#009933}
๑. อุโบสถศีลใด เปรียบได้กับการรักษาอุโบสถของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ?
ก. ปกติอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. นิพัทธอุโบสถ
๒. อุโบสถศีลประเภทใด ผู้สมาทานรักษาได้รับอานิสงส์มากที่สุด ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. นิคคัณฐอุโบสถ
ค. อริยอุโบสถ
ง. ปฏิชาครอุโบสถ
๓. อุโบสถศีลประเภทใด มีอาการเหมือนคนรับจ้างเลี้ยงโค ?
ก. โคปาลกอุโบสถ
ข. ปฏิชาครอุโบสถ
ค. ปกติอุโบสถ
ง. นิพัทธอุโบสถ

แสดงความคิดเห็น

ใหม่กว่า เก่ากว่า
ADVERTISMENT