สุภาษิตที่ ๒ ธรรมศึกษาชั้นโท ระดับมัธยมศึกษา

<h1>ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึกผู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก</h1>

{getButton} $text={ที่มาสุภาษิต}$color={#009933}
(ขุ.ธ. ๒๕/๓๖) = ขุททกนิกาย ธรรมบท


{getButton} $text={ประเด็นของสุภาษิต} $color={#009933}
- คนที่จะเป็นครูคนอื่นต้องทำตัวอย่างไร
- ทำไมต้องฝึกตนก่อนจะไปฝึกคนอื่น


{getButton} $text={หลักธรรมประกอบ} $color={#009933}
- ศีล,สมาธิ,ภาวนา
- เรื่องอื่นๆ (ที่เกี่ยงข้อง)


{getButton} $text={แนวนำมาเขียนอธิบาย} $color={#009933}
การฝึก คืออะไร
คือ การทำให้ชำนาญ ผู้ที่ฝึกตนจนเกิดความชำนาญไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดๆ เวลาที่ไปสอนหรือไปฝึกหัดคนอื่นย่อมชี้แจงและสอนได้อย่างถูกต้อง และผู้รับการฝึกก็ทำตามได้ง่าย เพราะผู้สอนได้สอนจากประสบการณ์จริงของตน และอีกประการหนึ่ง ถ้าไม่เคยฝึกอบรมตนเองเลย แล้วไปฝึกหัดไปสอนคนอื่นใครเขาจะเชื่อ เพราะขนาดตัวเองยังทำไม่ได้

คนที่จะเป็นครูคนอื่นต้องทำตัวอย่างไร
คือ ต้องทำให้เห็น ทำให้ได้ ทำให้เป็น เป็นตัวอย่างก่อน คนอื่นถึงเขาถึงจะเชื่อว่าเราทำได้อย่างที่สอนเขา



{getButton} $text={ตัวอย่างการแต่งกระทู้ธรรม} $color={#ff0066}
<h3>ตัวอย่างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นโท ๒</h3>


{getButton} $text={ให้เชื่อมด้วยสุภาษิต} $color={#0099ff}
<h3>สุภาษิตเชื่อมที่ ๒ ธ.ศ.ชั้นโท มัธยมศึกษา</h3>
<h3>สุภาษิตเชื่อมที่ ๒ ธ.ศ.ชั้นโท มัธยมศึกษา</h3>

สำหรับ "การเขียนแต่งเรียงความแก้กระทู้ธรรม" ของนักเรียนแต่ละคนจะไม่เหมือนกันนะครับ ขึ้นอยู่กับทักษะในการเขียนถ่ายทอดความรู้ได้มากน้อยกว่ากัน นักเรียนที่ขยันหาความรู้และหมั่นฝึกฝนฝึกเขียน ย่อมจะมีทักษะในการเขียนกระทู้ได้ดีกว่าผู้ที่ไม่มีความรู้หรือขาดทักษะในการเขียน ดังนั้น ในตัวอย่างการเขียนแต่งกระทู้ธรรมที่แนะนำไว้นี้ เป็นตัวอย่างไว้ให้ได้ศึกษา นักเรียนจะได้รู้แนวทางในการเขียน และเข้าใจบทสุภาษิตที่จะต้องเขียนแต่งกระทู้มากขึ้น และนำไปหัดฝึกเขียนกระทู้ธรรมของนักเรียนต่อไป {alertInfo}

แสดงความคิดเห็น

ใหม่กว่า เก่ากว่า